T 1.1 การสร้างเสริมค่านิยมองค์กร (Core value) |
ปฏิบัติได้ |
หลักฐาน
เชิงประจักษ์ |
|
ระดับที่ 1 |
ไม่มีการกำหนดค่านิยมองค์กรในการทำงาน |
|
|
ระดับที่ 2 |
มีการกำหนดค่านิยมองค์กรในการปฏิบัติงาน |
|
|
ระดับที่ 3 |
มีการสร้างการรับรู้ ทำความเข้าใจให้กับบุคลากรในองค์กร และเป็นที่ยอมรับ |
|
|
ระดับที่ 4 |
มีการนำค่านิยมมากำหนดเป็นพฤติกรรมการแสดงออกที่พึงประสงค์ |
|
|
ระดับที่ 5 |
ส่งเสริมผลักดันให้บุคลากรในองค์กรมีการปรับพฤติกรรมการแสดงออกที่พึงประสงค์ |
|
T 1.2 การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในองค์กร (Moral) |
|
ระดับที่ 1 |
ไม่มีการสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมในองค์กร |
|
|
ระดับที่ 2 |
มีการสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรมในองค์กร |
|
|
ระดับที่ 3 |
มีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมในองค์กร ให้แก่บุคลากรในองค์กร |
|
|
ระดับที่ 4 |
มีการปลูกฝังการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต และยืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง |
|
|
ระดับที่ 5 |
มีการทำงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพ และคุณภาพของงาน |
|
T 1.3 ความสมดุลของการดำเนินงานกับการทำงาน (Work Life Balance) |
|
ระดับที่ 1 |
ไม่มีการเสริมสร้างสมดุลของการดำเนินชีวิตกับการทำงาน |
|
|
ระดับที่ 2 |
มีแนวทางการสร้างเสริมความสมดุลของการดำเนินชีวิตกับการทำงาน |
|
|
ระดับที่ 3 |
มีการลงมือปฏิบัติสร้างเสริมความสมดุลของการดำเนินชีวิตกับการทำงาน |
|
|
ระดับที่ 4 |
มีการประเมินผลการสร้างเสริมความสมดุลของการดำเนินชีวิตกับการทำงาน |
|
|
ระดับที่ 5 |
มีการปรับปรุงพัฒนาการสร้างเสริมความสมดุลของการดำเนินชีวิตกับการทำงาน |
|
T 1.4 การดูแลคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร (Happy Workplace) |
|
ระดับที่ 1 |
ไม่มีการดูลแลคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร |
|
|
ระดับที่ 2 |
มีการดูลแลคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร |
|
|
มีการวัดผลการประเมินความสุขระดับบุคคล (Happinometer) และประเมินสุขภาวะองค์กร (HPI ; Happy Organization Public Index) |
|
ระดับที่ 3 |
มีการนำผลการประเมินความสุขระดับบุคคล และประเมินสุขภาวะองค์กร มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ |
|
|
ระดับที่ 4 |
นำผลวิเคราะห์มาใช้ในการแก้ปัญหา และเสริมสร้างดูแลคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร |
|
|
ระดับที่ 5 |
มีติดตามประเมินผลและปรับปรุงพัฒนาการดูแลคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากร |
|